วันพฤหัสบดีที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

สรุปการสอน วันที่ 5 มกราคม 2552

อาจารแนะนำในเรื่องการจัดกิจกรรมให้กับเด็กโดย
1. การเตรียมอุปกรณ์ให้พร้อม
2.การวางแผลการสอน เช่น
สาระที่จะสอน
-เช่นลักษณะของฝรั่ง
-ส่วนประกอบของฝรั่ง
-ประโยชน์ของฝรั่ง
-สถานที่พบ เช่นพาเด็กไปทัศนศึกษานอกสถานที่
เทคนิกการนำเข้าสู่บทเรียน
-เช่น การเล่านิทาน การร้องเพลง

วันพุธที่ 4 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2552

หน่วยฝรั่ง
กิจกรรมฝรั่งหรรษา

จำแนก
.รูปร่าง
-กลม - เรียว – เล็ก - ใหญ่

.สี
- เขียว - เหลือง - เขียวแก่ - เขียวอ่อน

.รสชาติ
- หวาน - เปรี้ยว - จืด - หวานอมเปรี้ยว



การนับ
-ให้เด็กนับฝรั่งในตะกร้า
-ให้เด็กนับอุปกรณ์ที่ใชัทำน้ำฝรั่ง
-ให้เด็กนับฝรั่งที่มีลักษณะกลม และเรียว
ตัวเลข
- ให้เด็กนำตัวเลขมาใส่หลังจากนับฝรั่ง
การจับคู่
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีขนาด เท่ากัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีต่างกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่มีสีหมือนกัน
- ให้เด็กจับคู่ฝรั่งที่ไม่มีขนาดเท่ากัน
การจัดประเภท
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีเหมือนกัน
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่มีสีไม่เหมือนกัน
- ให้เด็กแยกขนาดของฝรั่ง เล็ก- ใหญ่



การเปรียบเทียบ
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งที่มีขนาดเล็กและฝรั่งที่มีขนาดใหญ่
- ให้เด็กเปรียบเทียบสีของฝรั่ง สีเขียว – เหลือง
- ให้เด็กเปรียบเทียบผิวของฝรั่ง ขุรขะ – เรียบ
-
การจัดลำดับ
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุด
- ให้เด็กเรียงลำดับฝรั่งที่มีขนาดใหญ่สุดไปหาฝรั่งที่มีขนาดเล็กสุด
รูปทรงและเนื้อที่
- ให้เด็กแยกฝรั่งที่ลักษณะกลม - เรียว
การวัด
- ให้เด็กเปรียบเทียบฝรั่งลูกไหนหนัก ลูกไหนเบากว่ากัน
- ให้เด็กวัดเส้นรอบลูกฝรั่ง ว่าแต่ละลูกมีขนาดเท่าได
เซต
- ครูบอกนักเรียนว่าฝรั่งมี 2 ประเภท คือฝรั่งธรรมดาและฝรั่งขี่นก
เศษส่วนการทำตามแบบ หรือรวดราย
- ให้แด็กแยกฝรั่งที่มีผิวเรียบและผิวขุรขะออกจากกัน
- ให้เด็ก 4 คนต่อฝรั่ง 1 ลูก และแบ่งให้เท่าๆกัน
การอนุรักษ์
- ให้เด็กเสนอว่าจะเก็บฝรั่งแบบใดคือจะแช่อิ่ม จะดอง หรือ หรือจะเก็บไว้ในที่เย็น

วันพฤหัสบดีที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2552

ฝรั่ง (ทำส่งใหม่)


ฝรั่ง


หน่วยผลไม้
กิจกรรมหรรษา
อุปกรณ์
1.ฝรั่ง 10 ลูก
2.ตะกร้า 4 ใบ
ขั้นตอนตอนการทำกิจกรรม
1. ครูนำฝรั่งขึ้นมา 2 ลูกและถามเด็กๆว่า เด็กรู้จักสิ่งที่ครูนำมาหรือไม่
2. ครูถามเด็กๆ ต่อไปว่า ฝรั่ง 2 ลูกนี้มีลักษณะอย่างไร
3. แบ่งนักเรียนออกเป็น 2 กลุ่มเท่า ๆ กัน
4. ครูวางข้อตกลงและกติกาการเล่นเกมโดย
4.1 ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มยืนเรียงแถวตอนลึกโดยมีตะกร้าฝรั่งวางไว้หัวแถว และวางตะกร้าเปล่าออกไป 5 เมตร
4.2 ครูเป่านกหวีดให้สัญญาณ แล้วให้เด็กคนที่อยู่หัวแถวแต่และแถวหยิบฝรั่งที่อยู่ในตะกร้าที่อยู่หัวแถวไปใส่ในตะกร้าอีกใบที่เตรียมไว้และวิ่งกับไปหัวแถวใหม่และคนที่ 2 และคนต่อ ๆ ไปก็ทำไปเรื่อยๆ จนกว่าฝรั่งจะหมดตะกร้า
4.3 ถ้าใครทำฝรั่งหลุดมือต้องวิ่งกลับมาเอาฝรั่งลูกใหม่มาใส่ตะกร้าแทน
4.4 ทีมใดนำฝรั่งใส่ตะกร้าได้หมดก่อนทีมนั้นเป็นฝ่ายชนะ
4.5 จากนั้นให้แต่ละทีมนับดูว่าฝรั่งในตะกร้าของตัวเองมีกี่ลูก

สมาชิกในกลุ่ม
1.นางสาวเกศสิณี เพิ่มญาติ
2.นางสาวจิราภรณ์ ใจกล้า
3.นางสาวสะกาวเดือน สงค์มา
4.นางสาวทิตติยา เข็มภูเขียว

ทำส่งแล้วแต่ทำผิดเลยต้องทำใหม่

วันอาทิตย์ที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2552

สรุปการสอน วันที่18 ธันวาคม 2551

หลักการสอนคณิตศาสตร์ครูปฐมวัยที่ดีนอกจากจะเข้าใจพัฒนาการเด็กธรรมขาติของการเรียนรู้ของเด็ก และขอบข่ายของหลักสูตรอย่างลึกซึ้งแล้ว ยังจะต้องเป็นผู้ที่รู้และเข้าใจหลักการสอนคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัยอย่างดีด้วย เช่น
1.สอนให้สอดคล้องกับชีวิตประจำ
2.เปิดโอกาสให้เด็กได้รับประสบการณ์ที่ทำให้ พบคำตอบด้วยตัว
3.มีเป้าหมายและมีการวางแผนอย่างดี
4.เอาใจใส่ในเรื่องการเรียนรู้และลำดับขั้นตอนของการพัฒนาความคิดรวบยอดของ
5.ใช้วิธีการจดบันทึกพฤติกรรมหรือระเบียบพฤติการณ์เพื่อใช้ในการวางแผนการจัดกิจกรรม
6.ใช้ประโยชน์จากประสบการณ์เดิมของเด็ก
7.รู้จักใช้สถานการณ์ขณะนั้นที่เป็นประ
8.ใช้วิธีการสอดแทรกกับชีวิตจริงเพื่อสอนความคิดรวบยอดที่ยากได้
9.ใช้วิธีให้เด็กมีส่วนรวมหรือปฏิบัติการจริงเดียวกับตัวเลข
10.วางแผนส่งเสริมให้เด็กเรียนรู้ทั้งที่โรงเรียนและบ้านอย่างต่อเนื่อง
11.บันทึกปัญหาการเรียนรู้ของเด็กอย่างสม่ำเสมอเพื่อแก้ไขปรับ
12.คาบหนึ่งควรสอนเพียงความคิดรวบยอดเดียว
13.เน้นกระบวนการเล่นจากง่ายไปยาก
14.ครูควรสอนสัญลักษณ์ตัวเลขหรือเครื่องหมายเมื่อเด็กเข้าใจสิ่งเหล่านั้นแล้วการเตรียมความพร้อมเด็กให้เก่งคณิตศาสตร์นั้นจะต้องฝึกให้เด็กได้พัฒนาการทางสายตาก่อนเป็นอันดับแรกถ้าเด็กสามารถใช้สายตาในการจำแนกจัดแบ่งประเภทแล้ว เด็กจะมีปัญหาด้านการเรียนรู้คณิตศาสตร์

วันพฤหัสบดีที่ 22 มกราคม พ.ศ. 2552

การเรียนการสอน วันที่ 20 พ.ย 2551

สรุปการเรียนวันที่ 20 พ.ย. 51
สิ่งที่ได้จากการเรียนวันนี้ คือ
1. ทฤษฎีทางสติปัญญาของเพียเจต์
2. จัดสภาพแวดล้อมให้สอดคล้องกับเรื่องที่จะสอน
3. ยึดหลักพัฒนาการของเด็กในการคิดจัดกิจกรรม
4. หลักสูตรคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย มีดังนี้
1. การนับ
2. ตัวเลข
3. การจับคู่
4. การจัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ
6. การจัดลำดับ
7. รูปทรงและเนื้อที่
8. การวัด คือ การหาค่าปริมาณ โดยใช้เครื่องมือที่ไม่เป็นทางการ เช่น ให้เด็กต่อตัว ต่อแถว
9. เซท
10. เศษส่วน
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย
12. การอนุรักษ์ คือ การคิดที่ใช้เหตุผล เช่น แก้วน้ำทรงสูง กับแก้วทรงเตี้ย บรรจุน้ำปริมาณเท่ากัน ซึ่งเด็กอายุ 4 ปี ส่วนใหญ่จะตอบว่า น้ำในแก้วน้ำทรงสูงมากกว่าน้ำในแก้วทรงเตี้ย แต่เด็กอายุ 6 ปี จะตอบว่า น้ำในแก้วน้ำทรงเตี้ยมากกว่าน้ำในแก้วทรงสูง เพราะเด็กในช่วงอายุนี้จะตอบด้วยความคิดเชิงเหตุผล